คณาจารย์หลักสูตรวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา เชียงใหม่ เข้าร่วมเสนอบทความวิจัยในงาน "การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 27" ระหว่างวันที่ 24 - 26 สิงหาคม 2565 ณ โรงแรม เดอะ เฮอริเทจ เชียงราย จ.เชียงราย โดยคณาจารย์เป็นทั้งผู้แต่งหลัก และผู้แต่งร่วม ซึ่งมีบทความวิจัยเผยแพร่ในการประชุมครั้งนี้ได้แก่ 1. การพัฒนาฐานข้อมูลดินประเทศไทยสำหรับแบบจำลอง SWAT &n... >> อ่านต่อ
ปีการศึกษา 2554 ภาคเรียนที่ 2 นักศึกษาหลักสูตร วศ.บ.ยธ ชั้นปีที่ 1 จัดทำเก้าอี้สำหรับห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุวิศวกรรมการทาง จากการเรียนวิชา Civil Engineering Workshop โดยมีอาจารย์ปิ่นแก้ว กันฟุก เป็นอาจารย์ผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน จำนวน 31 ตัว และนักศึกษานักศึกษาหลักสูตร วศ.บ.ยธ รุ่นพี่ ร่วมจัดทำสบทบเพิ่มอีก 9 ตัว รวมจำนวนทั้งหมด 40 ตัว โดยทุกตัวมีการติด QR code ไว้เพื่อแสดงรายชื่อผู้จัดทำชิ้นงานนั้น ๆ เพื่อสร้างความภาคภูมิใจให้กับนักศึกษาผู้ปฏิบัติงานในอนาคตต่อไป >> อ่านต่อ
ปีการศึกษา 2554 ภาคเรียนที่ 2 นักศึกษาหลักสูตร วศ.บ.ยธ (4 ปี) ชั้นปีที่ 1 จัดทำเก้าอี้สำหรับห้องปฏิบัติการ จากการเรียนวิชา Civil Engineering Workshop โดยมีอาจารย์ปิ่นแก้ว กันฟุก เป็นอาจารย์ผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน โดยทุกตัวมีการติด QR code ไว้เพื่อแสดงรายชื่อผู้จัดทำชิ้นงานนั้น ๆ เพื่อสร้างความภาคภูมิใจให้กับนักศึกษาผู้ปฏิบัติงานในอนาคตต่อไป >> อ่านต่อ
วันที่ วันที่ 8 เมษายน 2564 บริษัทอินฟราเทค เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด โดยคุณภูษิต ศัลกวิเศษ ผู้จัดการบริษัท ได้ให้ความอนุเคราะห์ มอบเครื่องมือช่างพร้อมอุปกรณ์ เพื่อใช้ในการศึกษา รวมมูลค่า 40,000 บาท ให้กับหลักสูตรวิศวกรรมโยธา มทร.ล้านนา จ.เชียงใหม่ เพื่อให้นักศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาได้ใช้ฝึกทักษะงานช่าง ในวิชาปฏิบัติงานวิศวกรรมโยธาต่อไป โดยมีตัวแทนคณะวิศวกรรมศาสตร์ อาจารย์ชาคริต ชูวุฒิยากรณ์, ผศ. วรพรรณ นันทวงศ์, อ.ปิ่นแก้ว กันฟุก ผศ.ดร.ทวีชัย กาฬสินธ์ และ ผศ.ดร.ฐิติพร พันธุ์ท่าช้าง คณาจารย์ประจำวิชาหลักสู... >> อ่านต่อ
หลักสูตรวิศวกรรมโยธา สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ จัดโครงการอบรมโปรแกรมการออกแบบโครงสร้างระบบ 3 มิติ (Tekla: Structural design และ BIM: Building Information Modeling) ซึ่งได้รับเกียรติจาก คุณปณิธิ พรหมสาขา ณ สกลนคร และคุณตะวัน บุญนิธี เป็นวิทยากรอบรม ในระหว่างวันที่ 22-23 สิงหาคม 2563 ณ อาคาร ยธ. 4 หลักสูตรวิศวกรรมโยธา โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา ส่งเสริมวิชาการ และวิชาชีพชั้นสูงที่เน้นการปฏิบัติ ทำการสอน วิจัย ผลิตวิศวกรโยธาน... >> อ่านต่อ
หลักสูตรวิศวกรรมโยธา สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ จัดอบรมการใช้งานโปรแกรมด้านการออกแบบ 3 มิติ AutoCAD Civil 3D ระหว่างวันที่ 15-16 สิงหาคม 2563 ณ หลักสูตรวิศวกรรมโยธา โดยได้รับเกียรติจากคุณวิธวรรธน์ ลือชัยวิทย์วงศ์ เป็นวิทยากรในการสอนการใช้งาน มีวัตถุประสงค์การจัดการศึกษา ส่งเสริมวิชาการ และวิชาชีพชั้นสูงที่เน้นการปฏิบัติ ทำการสอน วิจัย ผลิตวิศวกรโยธานักปฏิบัติ ให้บริการวิชาการในด้านวิทยาศาสตร์แ... >> อ่านต่อ
วันที่ 30 กรกฏาคม 2563 ตัวแทน บริษัท ฮิลติ (ไทยแลนด์) จำกัด ให้เกียรติ เป็นวิทยากร บรรยายสาธิตการใช้โปรแกรม คำนวณ แรงยึดถอน Bolt ผ่านระบบ Online แก่นักศึกษาและบุคลากร หลักสูตรวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จ.เชียงใหม่ >> อ่านต่อ
ด้วยหลักสูตรวิศวกรรมโยธา สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้จัดการเรียนการสอนรายวิชาการออกแบบอาคาร ทางหลักสูตรได้เล็งเห็นประโยชน์ที่นักศึกษาและบุคลากรได้รับฟังการบรรยายจากบุคคลภายนอกเป็นประโยชน์กับนักศึกษาและบุคลากรที่เข้ารับฟัง โดยการบรรยายครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินพัฒน์ บัวชาติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมสาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นผู้บรรยาย ในวันที่ 5 มีนาคม 2563 เวลา 13:30-15:00 น. ณ ห้อง ยธ.4-203 มหาวิทยาลัยเทคโนโ... >> อ่านต่อ
หลักสูตร วศ.บ.ยธ ร่วมกับ วิทยากรภายนอก จัดการอบรมการ Render for Sketchup ณ ห้อง ยธ. 4-202 อาคาร ยธ.4 หลักสูตรวิศวกรรมโยธา สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จ.เชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 29 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2563 ในการอบรมครั้งนี้มีผู้เข้าอบรม ประกอบด้วย นักศึกษา และบุคลากร หลักสูตรวิศวกรรมโยธา และบุคคลภายนอกเข้ารับการอบรม >> อ่านต่อ
ปีการศึกษา 2552 ภาคเรียนที่ 2 นักศึกษาหลักสูตร วศ.บ.ยธ (4 ปี) ชั้นปีที่ 1 จัดทำเก้าอี้สำหรับห้องปฏิบัติการ จากการเรียนวิชา Civil Engineering Workshop โดยมีอาจารย์ปิ่นแก้ว กันฟุก เป็นอาจารย์ผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน ซึ่งรวมจำนวนชิ้นงานทั้งหมด 42 ตัว ซึ่งทุกตัวมีการติด QR code ไว้เพื่อแสดงรายชื่อผู้จัดทำเก้าอี้ตัวนั้น ๆ เพื่อสร้างความภาคภูมิใจให้กับนักศึกษาผู้ปฏิบัติงานในอนาคตต่อไป >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา